ตัวอย่างแบบสอบถามในระบบ

 
 
แบบสอบถามความคิดเห็นของบัณฑิตที่มีต่อมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ประจำปีการศึกษา 2560

Questionnaire for graduate students to evaluate pedagogy of Ubon Ratchathani University Academic year 2017

คำชี้แจง :
1.การลงทะเบียนบัณฑิตเพื่อเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรจะสมบูรณ์เมื่อท่านตอบแบบสอบถามของมหาวิทยาลัยและแบบสอบถามของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เรียบร้อยแล้ว


2. การแสดงผลที่เหมาะสมแนะนำให้ใช้ Browser เป็น Internet Explorer 6 ขึ้นไปหรือ Mozilla Firefox


Direction :This page best viewed in Internet Exploere 6 or upper and Mozilla firefox
รหัสนักศึกษา : (Student ID)  
ชื่อ - สกุล : (Firstname Lastname)  
คณะ - สาขา:(Faculty)  
สถานะการยืนยันเพื่อเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร : (Questionnaire Status ) แบบสอบถามของมหาวิทยาลัย (UBU) :
  แบบสอบถามของ สกอ. (MUA):
หมายเหตุ : สถานะการยืนยันจะสมบูรณ์เมื่อมีการตอบแบบสอบถามของมหาวิทยาลัยและของ สกอ. เรียบร้อยแล้ว (สถานะต้องเป็น ทั้งหมด) ยกเว้นระดับบัณฑิตศึกษาไม่ต้องตอบของ สกอ.
ตอนที่ 1 : แบบยืนยันการเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร
1. ท่านสามารถเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรประจำปีการศึกษา 2560 (ช่วง 17-20 ธันวาคม 2561) ได้หรือไม่ ?
1. เข้ารับและฝึกซ้อมได้
2. เข้ารับได้ แต่มาฝึกซ้อมไม่ได้        เนื่องจาก
3. เข้ารับไม่ได้
4. อื่นๆ    เนื่องจาก       
ตอนที่ 2 : แบบสอบถามความพึงพอใจของบัณฑิตต่อคุณภาพหลักสูตร
1. สถานภาพปัจจุบันของท่าน
ทำงาน (Working) ทำงานพร้อมกับศึกษาต่อ (Working and studying) ศึกษาต่อ (Continuing to study ) ยังไม่ได้ทำงาน (No job)
เกณฑ์ทหาร (Conscripted) อุปสมบท (Ordained) ทำงานในกิจการของครอบครัว ประกอบธุรกิจส่วนตัว
อื่นๆ      
 
ตอนที่ 3 : ความคิดเห็นต่อประเด็นด้านการพัฒนาตนเองของบัณฑิต
1. ระหว่างที่กำลังศึกษาอยู่ ท่านได้เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสา สาธารณะประโยชน์ หรือไม่
1. เข้าร่วม 2. ไม่ได้เข้าร่วม    

ถ้า เข้าร่วม ท่านเข้าร่วมในกิจกรรมด้านใด (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)

1. ด้านวิชาชีพ/วิชาการ       
2. ด้านสิ่งแวดล้อม
3. ด้านกฎหมาย กฎระเบียบ
4. ด้านสังคมสงเคราะห์ เช่น การเลี้ยงอาหารเด็กกำพร้า คนชรา เป็นต้น
5. ด้านสาธารณะประโยชน์และสาธารณะกุศล เช่น การออกค่ายอาสาพัฒนา การบริจาคโลหิต เป็นต้น
6. อื่นๆ โปรดระบุ

2. ท่านใช้อุปกรณ์ใดในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูล (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
1. Smartphone       
2. Tablet
3. Notebook (คอมพิวเตอร์แบบพกพา)
4. คอมพิวเตอร์ส่วนตัว
5. คอมพิวเตอร์สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
6. คอมพิวเตอร์สำนักวิทยบริการ
7.คอมพิวเตอร์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ที่คณะ
8.อื่นๆโปรดระบุ

3. ท่านใช้ช่องทางในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูล หรือในชีวิตประจำวัน ในช่องทางใดบ้าง
1. Internet     
2. สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ      
3. อื่นๆ     

3.1 ความถี่และระยะเวลาในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลต่อวัน โดยใช้ช่องทาง Internet (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการ Application กรณีช่องทาง Internet
จำนวนชั่วโมงในการศึกษา/ค้นคว้า
1-3 ชั่วโมง
4-6 ชั่วโมง
> 6 ชั่วโมง
1. Search Engine เช่น Google เป็นต้น
2. Youtube
3. Line
4. Facebook
5. Twitter
6. อื่นๆ โปรดระบุ

3.2 ความถี่และระยะเวลาในการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูลต่อวัน โดยใช้ช่องทาง สื่อสิ่งพิมพ์ (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
รายการช่องทางสืบค้น/ค้นคว้า กรณีช่องทาง สื่อสิ่งพิมพ์
จำนวนชั่วโมงในการศึกษา/ค้นคว้า
< 1 ชั่วโมง
1-2 ชั่วโมง
> 2 ชั่วโมง
1.หนังสือตำรา
2. หนังสือพิมพ์
3. วารสาร
4. E-book
5. วิทยานิพนธ์
6. อื่นๆ โปรดระบุ

4. ท่านใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใดในการทำงาน ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ข้อมูล (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
1.MS – Word      
2.MS – Excel
3.MS – Powerpoint
4.โปรแกรมทางสถิติ SPSS
5.อื่นๆ โปรดระบุ

5. ปัจจุบันท่านมีการพัฒนาตนเองวิธีการใดบ้าง (สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
1.การศึกษาต่อ       
2.การเรียนรู้ผ่านสื่อสารสนเทศต่างๆ
3.การเข้ารับการอบรม
4.การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
5.อื่นๆ โปรดระบุ

 
ความคิดเห็นต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนระดับหลักสูตร/ระดับคณะ/และระดับมหาวิทยาลัย(กรุณาตอบคำถามทุกข้อ)
Your opinion of the quality of teaching in Ubon Ratchathani University
 
รายการ (Content)
ระดับความคิดเห็น (Opinion)
น้อยที่สุด
(Poorest)
น้อย
(Poor)
ปานกลาง
(Fair)
มาก
(Good)
มากที่สุด
(Excellent)
 1 ด้านหลักสูตร
      Curriculum
     
 1.1 โครงสร้างหลักสูตรมีความเหมาะสม
 1.2 หลักสูตรมีความทันสมัยทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสังคม และวัฒนธรรม ท่านสามารถนําความรู้ไปใช้ในการทํางานได้
 1.3 การจัดการเรียนการสอนสอดคล้องกับปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
 1.4 กระบวนการสอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมที่ดีให้แก่ท่าน
 1.5 รายวิชาที่เรียนเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้น
 1.6 การได้รับการฝึกภาคปฏิบัติตามหลักสูตร
 2 ด้านอาจารย์ผู้สอน
      Teacher
     
 2.1 ความสามารถในการสอนการถ่ายทอดเนื้อหาวิชา
 2.2 ความรู้ความเชี่ยวชาญในวิชาที่สอน
 2.3 กระบวนการสอนส่งเสรม และพัฒนาทักษะความคิดให้แก่นักศึกษา
 2.4 ความพร้อมด้านเอกสาร คู่มือหรือตําราประกอบการสอน
 2.5 การใช้สื่อการสอนหรือเทคโนโลยีที่ทันสมัยประกอบการสอน
 2.6 การวัดผลและประเมินผลการเรียนมีความโปร่งใส ยุติธรรม
 2.7 การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นที่น่าเคารพ
 3 ด้านระบบการให้คำแนะนำปรึกษา     
 3.1 มีระบบการให้นักศึกษาเข้าพบอย่างเหมาะสม
 3.2 มีการติดตามผลการเรียนของนักศึกษาอย่างใกล้ชิด
 3.3 ให้ความช่วยเหลือนักศึกษาในการวางแผนการศึกษา หรือให้คำปรึกษา
 3.4 แนะนำเกี่ยวกับโอกาสในการศึกษาต่อ หรือแนวทางการประกอบอาชีพ
 4 ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา     
 4.1 กิจกรรมเสริมหลักสูตรในรายวิชา เช่น การศึกษานอกสถานที่การสัมมนาวิชาการ การฝึกปฏิบัติฯ ส่งเสริมการทํางานเป็นทีม และศักยภาพ นักศึกษาในการนําความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม
 4.2 ท่านคิดว่ากิจกรรมนักศึกษามีส่วนช่วยส่งเสริมในด้านต่างๆต่อไปนี้ในระดับใด     
 4.2.1 ด้านการพัฒนาด้านการส่งเสริมสุขภาพและกีฬา
 4.2.2 ด้านการมีส่วนในการรักษาสิ่งแวดล้อม
 4.2.3 ด้านการพัฒนาทักษะทางวิชาการให้แก่นักศึกษา
 4.2.4 ด้านการพัฒนาทักษะทางสังคมให้แก่นักศึกษา
 4.2.5 ด้านการพัฒนาทักษะความคิดให้แก่นักศึกษา
 4.2.6 ด้านการพัฒนาทักษะการทํางานที่ดีให้แก่นักศึกษา
 4.2.7 ด้านการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรมให้แก่นักศึกษา
 4.3 การสนับสนุนและส่งเสริมการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาอัตลักษณ์ ของนักศึกษา (สร้างสรรค์ สามัคคี สํานึกดีต่อสังคม) ผ่านองค์กรนักศึกษาต่างๆ เช่น สภานักศึกษาสโมสรนักศึกษา ชมรมกิจกรรมต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 5 การให้บริการ และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
 5.1 การให้บริการของเจ้าหน้าที่ในภาพรวมมีประสิทธิภาพ
 5.10 การพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น e-library e-book และบทเรียน Online ที่มีคุณภาพ และตอบสนองความต้องการของนักศึกษา
 5.11 การปรับปรุงและพัฒนามีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้และคุณภาพชีวิตของนักศึกษา
 5.12 การพัฒนาระบบบริการห้องสมุดที่ทันสมัย และแหล่งเรียนรู้อื่นที่สอดคล้องกับความต้องการของนักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ
 5.13 การจัดหาพื้นที่/สถานที่ให้นักศึกษาและอาจารย์ ได้พบปะและทำงานร่วมกัน
 5.2 การบริการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสารสนเทศที่สนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้และตอบสนองความต้องการของนักศึกษาอย่างเพียงพอ
 5.3 ความเหมาะสมและเพียงพอ ของวัสดุอุปกรณ์ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ และสถานที่ปฏิบัติการ
 5.4 ความเหมาะสมในการจัดสรรทุนการศึกษาให้แก่นักศึกษา
 5.5 การให้บริการหอพักภายในมหาวิทยาลัยอย่างมีประสิทธิภาพ
 5.6 การจัดบริการด้านโรงอาหาร ศูนย์อาหารได้อย่างเหมาะสม
 5.7 การจัดการจราจรภายในมหาวิทยาลัยได้อย่างเหมาะสม
 5.8 การให้บริการด้านสถานพยาบาลภายในมหาวิทยาลัยมีความเพียงพอ
 5.9 การพัฒนาระบบการให้บริการนักศึกษาผ่านระบบสารสนเทศ ที่ตอบสนองความต?องการของนักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ระบบลงทะเบียนออนไลน์ (REG) ระบบสารสนเทศนักศึกษา กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษา (UBU-SIS) เป็นต้น
 6 ผลการเรียนรู้ที่มีผลต่อการทำงาน     
 6.1 ท่านคิดว่าความรู้และประสบการณ์ทีได้รับจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในประเด็นต่อไปนี้ มีประโยชน์ต่อตัวท่านเพียงใด     
 6.1.1 ด้านวิชาการ
 6.1.2 ด้านการแก้ปัญหา
 6.1.3 ด้านการทํางานร่วมกับผู้อื่น
 6.1.4 ด้านความรับผิดชอบ
 6.1.5 ด้านคุณธรรม จริยธรรม
 6.2 ความรู้ที่ได้รับจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ช่วยเสริมโอกาสแก่ท่าน ในประเด็นต่อไปนี้เพียงใด     
 6.2.1 มีโอกาสได้งานที่ดี
 6.2.3 ได้รับการยอมรับจากบุคคลอื่น
 7 ความภาคภูมิใจต่อมหาวิทยาลัย     
 7.1 ท่านมีความภาคภูมิใจที่เป็นบัณฑิตมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเพียงใด
 7.2 การเป็นบัณฑิตมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีท่านมีความภาคภูมิใจต่อมหาวิทยาลัยในประเด็นต่อไปนี้เพียงใด     
 7.2.1 ด้านภาพลักษณชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย และคณะ
 7.2.2 ด้านเอกลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ?ภูมิปัญญาแห่งภูมิภาคลุ่มน้ำโขง?
 7.2.3 ด้านความเป็นเลิศทางวิชาการ และระบบการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
 7.2.4 ด้านอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
 7.2.5 ด้านศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันที่สร้างชื่อเสียง
 7.2.6 ด้านการบริการชุมชนเป็นที่พึ่งของชุมชนโดยใช้ความเชี่ยวชาญของ คณะและมหาวิทยาลัย
 8 ในภาพรวมท่านมีความพึงพอใจต?อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและ ระบบการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเพียงใด
 
 
ข้อเสนอแนะต่อการพัฒนาการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (โปรดระบุ)
1.ท่านคิดว่าเนื้อหาในรายวิชาด้านใดหรือทักษะด้านใดที่ส่งเสริมและเอื้อประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพของบัณฑิต  ที่ท่านคิดว่ามหาวิทยาลัยควรจัดเพิ่มเติม (What other course(s) need to be provided to support professional skills? What course(s) should be provided by the university? )
ไม่มี เพราะครบถ้วนแล้ว (No need what the university presently provides is sufficient)

ควรเพิ่มเติมหัวข้อต่อไปนี้ (เลือกตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) (Needed. Please choose the course(s) that you like. You can choose more than course)

 
การพูด อ่าน เขียน ภาษาต่างประเทศ โปรด ระบุภาษา
(Speaking, reading, and writing skills for foreign languages (please indicate the language(s) )
การฝึกปฏิบัติจริง (Practicum)
ความรู้และการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีที่ทันสมัย (Giving knowledge and training course about the use of computers and high technology)
ระบบมาตรฐานควบคุมคุณภาพ ระบุชื่อระบบ
(Quality assessment system (please state the system’s name )
การบริการจัดการองค์กร  เช่น การจัดการความรู้ (Organization Management such as Knowledge Management (KM))
ทักษะทางสังคม การทำงานร่วมกับผู้อื่น การจัดการความขัดแย้งในองค์กร (Training about social skills, for example, working with people, conflict management)
คุณธรรมและจริยธรรม (Morality and ethics)
อื่น ๆ โปรดระบุ (etc.)  

2.
ท่านต้องการให้มหาวิทยาลัยจัดกิจกรรม/โครงการเพื่อเพิ่มพูนความรู้ หรือฝึกอบรมให้แก่ศิษย์เก่า ด้านใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
(What activity or project needs to be provided by the university to support the knowledge and/or training courses for alumni? You can choose more than one)
  ภาษาอังกฤษ (English) คอมพิวเตอร์ (Computer skills)
  การประกอบอาชีพอิสระ (Professional training) ทักษะวิชาการในสาขาที่สำเร็จการศึกษา
(Academic skills related to the course in which you graduated)
3.ท่านต้องการให้มหาวิทยาลัยจัดกิจกรรม/โครงการเพื่อพัฒนาศักยภาพของศิษย์เก่า ด้านใด (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
(What activity or project needs to be provided by the university to support the proficiency of alumni? You can choose more than one)
  การพัฒนาบุคลิกภาพ (Personality development)    การพัฒนาทักษะการเป็นผู้นำ  (Leadership skill development)
  การพัฒนาทักษะทางการบริหารจัดการ (Administration and management development)
4.ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อการพัฒนาคุณภาพของมหาวิทยาลัย
(Suggestions for the development of the university’s quality)